คำอธิบายหลักสูตร non degree ประกอบด้วย รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ ซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนเป้าหมาย 1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ 2. สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือ ปวส. แต่ต้องมีประสบการณ์งานด้านฮาลาลอย่างน้อย 2 ปี การวัดและประเมินผล ระดับคะแนน (A, B+, B..., E) อัตราค่าเล่าเรียนของชุดวิชา (บาท/คน) จำนวน 35,000 บาท/คน (ภาคปกติ) จำนวน 45,000 บาท/คน (ภาคสมทบ) การเปิดรับผู้เรียน ระยะเวลาแต่ละรุ่น รุ่นละ 4 เดือน รุ่นที่ 1 เริ่ม มี.ค. 2564 - มิ.ย. 2564 รุ่นที่ 2 เริ่ม ก.ย. 2564 - ธ.ค. 2564 การจัดการเรียนการสอน แยกกลุ่มเรียนเฉพาะ หน่วยงานความร่วมมือ รูปแบบกิจกรรมของ MOU จัดการเรียนการสอนร่วมกัน เนื้อหาชุดวิชาของหลักสูตรนี้ ใช้วิธีการกำหนดหัวข้อเนื้อหาให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ในการออกแบบโครงสร้างหลักสูตร และเน้นภาคปฏิบัติเป็นส่วนใหญ่ โดยมีหน่วยกิตตลอดหลักสูตรรวม 9 หน่วยกิต (285 ชั่วโมง) ประกอบด้วยรายวิชาทฤษฎี จำนวน 4 หน่วยกิต (60 ชั่วโมง) รายวิชาปฏิบัติในห้องเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต (45 ชั่วโมง) และรายวิชาปฏิบัติในหน่วยฝึกปฏิบัติหรือสถานประกอบการ จำนวน 4 หน่วยกิต (180 ชั่วโมง) ซึ่งมีเนื้อหาชุดวิชาดังต่อไปนี ชุด/หน่วยการเรียนรู้ (Module) ผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) หัวข้อเนื้อหาการเรียนรู้ Module 1 ความรู้พื้นฐานฮาลาล- ฮารอม PLO1: สามารถอธิบายแนวคิดฮาลาลและฮารอมในกระบวนการผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้ 1. ความรู้พื้นฐาน ฮาลาล-ฮารอม 1.1 ข้อกำหนดตามหลักการอิสลาม 1.2 ฮาลาล-ฮารอมกับการบริโภค 1.3 ทฤษฎีทางกฎหมายอิสลามเกี่ยวกับการบริโภคและอุปโภค 1.4 กฎการแปรสภาพ (อิสตีฮาละฮ์) ตามหลักการอิสลาม Module 2 การจัดการองค์ความรู้ระบบกิจการฮาลาลของประเทศไทย PLO2: สามารถบริการให้คำปรึกษาองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับกิจการฮาลาลในด้านต่างๆได้ 2. มาตรฐานฮาลาลประเทศไทย 2.1 องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกิจการฮาลาล 2.2 ประเภทของการรับรองฮาลาล 2.3 ขั้นตอนการตรวจ รับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาล 2.4 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจการฮาลาล 2.5 ระเบียบ ข้อกำหนด ประกาศ 2.6 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินกิจการฮาลาล 2.7 แหล่งรวบรวมคำฟัตวาที่เกี่ยวข้องกับระบบมาตรฐานฮาลาล ฝึกปฏิบัติในการให้คำปรึกษาผู้ประกอบการ Module 3. การจัดการมาตรฐานและกระบวนการผลิตสินค้าฮาลาล PLO3: สามารถกำกับ ดูแล ควบคุม และตรวจสอบ กระบวนการผลิตตามหลักมาตรฐานฮาลาลได้ 3. มาตรฐานการผลิตในอุตสาหกรรม 3.1 มาตรฐานสากลเกี่ยวกับการผลิตอาหาร 3.2 มาตรฐานกระบวนการผลิตที่กฎหมายบังคับใช้กับโรงงาน 3.3 กระบวนการผลิตตามหลักการฮาลาล-ฮารอมในอุตสาหกรรม 3.4 ความสอดคล้องของมาตรฐานฮาลาลกับมาตรฐานสากล 3.5 เทคโนโลยีการตรวจสอบวัตถุดับและส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหาร 3.6 การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ และส่วนผสมทางห้องปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติการจัดระบบมาตรฐานฮาลาลในสถานประกอบการ Module 4. การจัดการระบบเอกสารในการขอมาตรฐานฮาลาล PLO4: สามารถดำเนินการขอใบรับรองมาตรฐานฮาลาลให้อุตสาหกรรมได้ 4. การจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจการฮาลาล 4.1 เอกสารก่อนการขอรับรองฮาลาล 4.2 เอกสารการต่ออายุการรับรองผลิตภัณฑ์ ฝึกปฏิบัติการขอรับรองมาตรฐานฮาลาลให้กับโรงงานหรือสถานประกอบการ Module 5. จรรยาบรรณและทักษะของการปฏิบัติงานของนักจัดการระบบกิจการฮาลาล PLO5: มีทักษะการให้บริการและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพตามหลักฮาลาล 5. คุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานด้านฮาลาล 5.1 บุคลิกภาพที่พึงประสงค์ในการทำงาน 5.2 ทักษะการประสานงาน 5.3 จริยธรรมผู้ดูแล ควบคุม และตรวจสอบมาตรฐานฮาลาล หลักสูตรนี้มีหน่วยการเรียนรู้ทั้งหมด 5 หน่วย เพื่อตอบสนองผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 อย่าง ดังนี้ ชุด/หน่วยการเรียนรู้ (Module) ผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) 1. ความรู้พื้นฐานฮาลาล-ฮารอม สามารถอธิบายแนวคิดฮาลาลและฮารอมในกระบวนการผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆได้ 2. การจัดการองค์ความรู้ระบบกิจการฮาลาล ของประเทศไทย สามารถบริการให้คำปรึกษาองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับกิจการฮาลาลในด้านต่างๆได้ 3.การจัดการมาตรฐานและกระบวนการผลิตสินค้าฮาลาล สามารถกำกับ ดูแล ควบคุม และตรวจสอบ กระบวนการผลิตตามหลักมาตรฐานฮาลาลได้ 4. การจัดการระบบเอกสารในการขอมาตรฐานฮาลาล สามารถดำเนินการขอใบรับรองมาตรฐานฮาลาลให้สถานประกอบการได้ 5. จรรยาบรรณและทักษะการปฏิบัติงานของการจัดการระบบกิจการฮาลาล มีทักษะการให้บริการและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพตามหลักฮาลาล > 2013 Ph.D (fiqh and Usul Fiqh) International Islamic University Malaysia, Malaysia >2005 ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, Thailand เจ้าหน้าที่ประสานงานหลักสูตร
วิทยาเขต
หาดใหญ่
คณะ/ ส่วนงาน
สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รหัสหลักสูตร
non degree 842-N01
จำนวนหน่วยกิต
9((4)-15-8)
ชื่อหลักสูตร
non degree การจัดการระบบกิจการฮาลาล (Halal System Management)
ชื่อประกาศนียบัตร
การจัดการระบบกิจการฮาลาล (Halal System Management)
แนวคิดฮาลาลและฮารอมในกระบวนการผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆ องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับกิจการฮาลาลในด้านต่างๆ การกำกับ ดูแล ควบคุม และตรวจสอบ กระบวนการผลิตตามหลักมาตรฐานฮาลาล ขั้นตอนและการดำเนินการขอการรับรองมาตรฐานฮาลาล ทักษะการให้บริการและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพตามหลักฮาลาล
1. อธิบายแนวคิดฮาลาลและฮารอมในกระบวนการผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆได้
2. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกิจการฮาลาลในด้านต่างๆได้
3. กำกับ ดูแล ควบคุม และตรวจสอบ กระบวนการผลิตตามหลักมาตรฐานฮาลาลได้
4. ดำเนินการขอใบรับรองมาตรฐานฮาลาลให้สถานประกอบการได้
5. แสดงออกถึงพฤติกรรมที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพตามหลักฮาลาล
เนื้อหาชุดวิชา
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของชุดวิชา
ที่ปรึกษาหลักสูตร
รองศาสตราจารย์ ดร. อิสมาแอ อาลี
ประธานฝ่ายกิจการฮาลาล คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
อาจารย์ ไพศาล พรหมยงค์
ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสมุทรปราการ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ดร. อัสมัน แตอาลี
ASST. PROF. DR.ASMAN TAEALI
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ กฏหมายอิสลาม(ชารีอะฮ์)/ฮาลาล คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. ปัตตานี
(ผู้อำนวยการสถาบันฮาลาล)
รองศาสตราจารย์. ดร. สันทัด วิเชียรโชติ
ASSOC. PROF. DR.SANTAD WICHIENCHOT
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ เทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.อ. หาดใหญ่
(รองคณบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม คณะอุตสาหกรรมเกษตร, ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถาบันฮาลาลฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม)
ดร. วันอามีนา บอสตัน อลี
DR.WANAMINA ฺBOSTON ALI
> 2017 Ph.D (Doctor of Business Administration) Victoria University, Australia
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ การจัดการธุรกิจ/ การจัดการไมซ์ คณะวิทยาการจัดการ ม.อ. หาดใหญ่
(ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาองค์กร คณะวิทยาการจัดการ)
อาจารย์อริศ หัสมา
Aris Hassama
> 2011 M.E (Economics) International Islamic University Malaysia, Malaysia
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ เศรษฐศาสตร์อิสลาม/ การกำกับดูแลองค์กรอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. ปัตตานี
ประธานหลักสูตรนวัตกรรมธุรกิจอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม
ซุกรี แวสอเหาะ
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
082 273 0548